นายเคน หู รองประธานกรรมการบริหารของหั วเว่ยเผยวิสัยทัศน์ และแผนการดำเนินงานของหัวเว่ยด้ านการศึกษา ภายใต้แนวคิดการผนวกเทคโนโลยีดิ จิทัล หรือ TECH4ALL ในงานสัมมนาผ่านเว็บไซต์ภายใต้ หัวข้อการศึกษาระดับโลก (Global Education Webinar) ที่ใช้ชื่อว่า “ขับเคลื่อนความเสมอภาคและคุ ณภาพด้วยเทคโนโลยี (Driving Equity and Quality with Technology)” ย้ำ “การเชื่อมต่อโรงเรียนและการพั ฒนาทักษะคือ 2 แนวทางหลักสำหรับหัวเว่ย เพื่อปรับปรุงความเสมอภาคและคุ ณภาพการศึกษา” งานสัมมนาดังกล่าวมีกลุ่มผู้ นำและผู้เชี่ยวชาญจากทั้งองค์ กรยูเนสโก (UNESCO) องค์กรกำกับดูแลมาตรฐานการสื่ อสาร (Global System for Mobile Communications – GSMA) กระทรวงการศึกษาแห่งชาติ ของประเทศเซเนกัล มหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาต่ างๆ ของภาคภาคเอกชนเข้าร่วม
การพัฒนาความเสมอภาคและคุ ณภาพทางการศึกษาด้วยเทคโนโลยี
ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีดิจิทัลจะมี บทบาทสำคัญในด้านการศึกษา แต่ยังมีประชากรอีกกว่า 50% ทั่วโลก ที่ไม่สามารถเข้าถึงเครือข่ายอิ นเทอร์เน็ตได้ และมีอีกมากมายที่ยังขาดทั กษะจำเป็นสำหรับการใช้งานอุ ปกรณ์ดิจิทัล ด้วยเหตุนี้ ความเหลื่อมล้ำทางดิจิทั ลในโลกการศึกษาจึงขยายตัวกว้ างขึ้น นายเคน หู กล่าวว่า “เราเชื่อว่าทุกคนไม่ว่าจะอยู่ ที่ใด ก็มีสิทธิ์ได้รับโอกาสทางการศึ กษาอย่างเท่าเทียมกัน ในฐานะบริษัทด้านเทคโนโลยี หัวเว่ยจึงตั้งใจจะมอบความช่ วยเหลือด้วยการเชื่อมต่อ, แอปพลิเคชัน และทักษะต่างๆ โดยเน้น 2 แนวทางหลัก ได้แก่ การมอบการเชื่อมต่อระหว่ างโรงเรียนต่างๆ เข้าด้วยกัน และการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล”
ด้านการส่งมอบการเชื่อมต่อแก่ โรงเรียนต่างๆ หัวเว่ยจะช่วยสนับสนุนผ่ านการมอบการเข้าถึงทรั พยากรทางการศึกษาคุณภาพสูง เช่น หลักสูตรการศึกษาในรูปแบบดิจิทั ล แอปพลิเคชันสำหรับการเรียนรู้ผ่ านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) รวมถึงการฝึกอบรมครูและนักเรี ยนด้วยการมอบการเชื่อมต่ออิ นเทอร์เน็ตให้แก่โรงเรียนจากกลุ่ มพาร์ทเนอร์ เมื่อเร็วๆ นี้ ในประเทศแอฟริกาใต้ หัวเว่ยได้เปิดตัวโครงการ DigiSchool ภายใต้การร่วมมือกับพาร์ทเนอร์ เรน (Rain) ซึ่งเป็นผู้ให้บริการเครือข่าย และองค์กรไม่แสวงหาผลกำไรด้ านการศึกษาอย่างมูลนิธิคลิก (Click Foundation) โดยมุ่งเน้นมอบการเชื่อมต่อให้ แก่โรงเรียนประถมทั้งในเขตเมื องและพื้นที่ชนบท 100 แห่งภายในปีหน้า เพิ่มเติมจากทั้งหมด 12 แห่งที่เชื่อมต่อกับเทคโนโลยี 5G เป็นที่เรียบร้อย “ในการศึกษารูปแบบดิจิทัล เราไม่เพียงแก้ปัญหาวิกฤติด้ านความสามารถด้านการอ่านเขี ยนของประเทศ แต่เรายังได้มอบทักษะด้านดิจิทั ลที่จำเป็นต่อความสำเร็ จในอนาคตแก่เยาวชนอีกด้วย” นายนิโคลา แฮร์ริส ประธานกรรมการบริหาร มูลนิธิคลิกกล่าวเสริมในการสั มมนาผ่านเว็บไซต์
ด้านการพัฒนาทักษะทางดิจิทัล หัวเว่ยได้วางแผนจัดการฝึ กอบรมทักษะทางดิจิทัลให้แก่กลุ่ มที่ยังขาดทักษะด้านดังกล่ าวในพื้นที่ห่างไกล โดยเฉพาะกลุ่มนักเรียนหญิงผ่ านโครงการต่างๆ เช่น โครงการ DigiTruck ในชื่อ ‘ล้อแห่งทักษะ – Skills on Wheels’ นับตั้งแต่การเปิดตัวโครงการ DigiTruck ในประเทศเคนยาเมื่อปลายปีที่ผ่ านมา โครงการดังกล่าวได้จัดการฝึ กอบรมแก่เยาวชนและคุณครูมากกว่า 1,500 คน ในพื้นที่ชนบท โดยหัวเว่ยมุ่งหวังจะจั ดโปรแกรมในลักษณะเดียวกันนี้ ในประเทศฝรั่งเศส ฟิลิปปินส์และประเทศอื่นๆ ภายใน 2 ปีข้างหน้า “ห้องเรียนดิจิทัลเคลื่อนที่ เหล่านี้ทำงานโดยใช้พลั งงานแสงอาทิตย์ และเพียบพร้อมด้วยการเข้าถึ งโครงข่ายไร้สาย ซึ่งสามารถเข้าไปปฏิบัติการได้ แม้จะอยู่ในชุมชนที่ห่ างไกลจากตัวเมืองก็ตาม” นายโอลิวิเย่ร์ แวนเด็น อายน์ด ประธานกรรมการบริหารองค์ กรโคสเดอะแก๊บ (Close the Gap) ซึ่งเป็นพาร์ทเนอร์หลักของ DigiTruck กล่าว
ยกระดับศักยภาพรับมือโควิด-19
หัวเว่ยได้ยกระดับความมุ่งมั่ นผ่านแนวคิด TECH4ALL เพื่อสนับสนุนกลุ่มพันธมิ ตรทางการศึกษาระดับโลกขององค์ กรยูเนสโก (UNESCO’s Global Education Coalition) ที่ก่อตั้งขึ้นเพื่อรับมือกั บความท้าทายระดับโลกที่ส่งผลต่ อการศึกษาเนื่องจากการแพร่ ระบาดของโควิด-19 ดังจะเห็นได้จากภารกิจต่างๆ เช่น การรวมพลังกับกลุ่มพันธมิตรยู เนสโก และกระทรวงการศึกษาแห่งชาติ ของประเทศเซเนกัล สนับสนุนการดำเนินการด้านการศึ กษาทางไกลอย่างต่อเนื่องในช่ วงที่มีการแพร่ระบาด ทำให้กลุ่มคุณครูในพื้นที่ได้รั บการเชื่อมต่อ อุปกรณ์ดิจิทัล และการฝึกอบรมทักษะซึ่งเป็ นประโยชน์ต่อนักเรียนมากกว่า 100,000 คน “วิกฤติครั้งนี้ได้เปลี่ ยนโฉมและเปลี่ ยนอนาคตของภาคการศึกษา ทั้งยังชี้ให้เห็นว่ าโครงการความร่วมมือสามารถทำให้ เกิดความเปลี่ยนแปลงได้รวดเร็ วเพียงใดเมื่อความเชี่ ยวชาญและทรัพยากรมาบรรจบกั บความต้องการในพื้นที่ จึงสร้างความมั่นใจได้ว่าการเรี ยนรู้จะเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในกลุ่มนักเรี ยนแถบชนบทที่อยู่ห่างไกลที่สุด”
ในขณะเดียวกัน เมื่อต้นเดือนเมษายนที่ผ่านมา HUAWEI ICT Academy ได้เปิดตัวโครงการ “Learn ON” โดยมีจุดประสงค์คือสร้ างความตระหนักถึงความต้ องการทางการศึกษาของผู้มี ความสามารถด้าน ICT ในกลุ่มมหาวิทยาลัยที่ได้รั บผลกระทบจากการแพร่ระบาด โปรแกรมดังกล่าวเป็นการรวมกลุ่ มพาร์ทเนอร์มหาวิทยาลัยระดั บโลกเข้าด้วยกัน ทั้งยังได้มอบทุนส่งเสริมความร่ วมมือระหว่างมหาวิทยาลัย ซึ่งจะสามารถนำไปใช้สำหรับหลั กสูตรการเรียน, การสอบ, การทดลองในรูปแบบออนไลน์ และอื่นๆ พร้อมกันนี้ยังได้มอบทรั พยากรหลักสูตรการเรียนออนไลน์ที่ เปิดกว้างและรองรับนักเรี ยนจำนวนมาก (Massively Open Online Courses – MOOC) มากกว่า 300 หลักสูตร ซึ่งมีเนื้อหาครอบคลุมเทคโนโลยี ล้ำสมัย เช่น เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ AI, Big Data, 5G และ Internet of Things เป็นต้น
ความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชน ในการเร่งแก้ปัญหาทางการศึกษา
งานสัมมนาผ่านเว็บไซต์ในครั้งนี้ เน้น 2 หัวข้อหลัก ได้แก่ “การเรียนรู้ทางไกลเพื่อความต่ อเนื่องทางการศึกษาที่ดีกว่า” และ “นวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่ อการเรียนรู้ที่ครอบคลุม” ภายในงานยังมีการหารือถึงหลั กปฏิบัติที่ดีที่สุดและการแบ่ งปันประสบการณ์จากประเทศจีน ฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เซเนกัล แอฟริกาใต้ และประเทศอื่นๆ โดยนายบอร์รีน ชาครูน ผู้ อำนวยการแผนกนโยบายและระบบการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตขององค์กรยูเนสโก (UNESCO’s Policy and Lifelong Learning Systems) กล่าวย้ำว่า “ด้วยจำนวนครูระดับประถมศึ กษาและมัธยมศึกษาอย่างน้อย 63 ล้านคนที่ได้รับผลกระทบ การระบาดของโควิด-19 ชี้ให้เห็นถึงความต้องการด้ านการพัฒนาศักยภาพของครูให้ สามารถจัดการการเรียนรู้ ทางไกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งประเด็นดังกล่าวจะกลายเป็ นส่วนหนึ่งของการเตรียมการด้ านการศึกษาและการฝึกอบรมต่างๆ ในอนาคต”
นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมงานยังมีมติว่ าความร่วมมือระหว่างภาครั ฐและภาคเอกชนนั้นเป็นกุญแจสำหรั บการส่งเสริมการศึกษาที่ครอบคลุ มผ่านเทคโนโลยีดิจิทัล “ในปีนี้กลุ่มประเทศที่มีรายได้ น้อยและรายได้ปานกลางได้เรียนรู้ บทเรียนมากมาย และได้ปรับการให้บริการ ตระหนักถึงความต้องการของผู้ใช้ และตอบรับกั บผลกระทบจากการระบาดทั่วโลกด้ วยการพัฒนาธุรกิจและกลุ่มพันธมิ ตรสำคัญ โดยปัจจุบันองค์กรกำกับดู แลมาตรฐานการสื่อสาร (GSMA) และอุตสาหกรรมโทรศัพท์เคลื่อนที่ ได้ให้การสนับสนุนและจะยืนหยั ดมอบการสนับสนุนในระยะยาวให้แก่ เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยื นขององค์กรสหประชาชาติ ในยุคสมัยแห่งการเป็นผู้นำด้ านจริยธรรม” นางสเตฟานี ลีนช์-ฮาบิบ ผู้บริหารฝ่ายการตลาดแห่ง GSMA กล่าวเสริม ทั้งนี้ ความสำเร็จด้านการผนวกเทคโนโลยี ดิจิทัลเข้ากับการศึกษานั้ นจำเป็นต้องอาศั ยความพยายามจากทุกภาคส่วน ทั้งจากภาครัฐ องค์กรต่างๆ ในภาคอุตสาหกรรม รวมถึงสถาบันการศึกษาและบริษั ททางเทคโนโลยี ที่จะให้การสนับสนุนด้ วยประสบการณ์และทรั พยากรของพวกเขา ท้ายที่สุดแล้วสิ่งนี้จะช่วยเร่ งการมุ่งสู่ความสำเร็จของเป้ าหมาย SDG ในลำดับที่ 4 (อันได้แก่ “การสร้างหลักประกันให้การศึ กษามีคุณภาพอย่างเท่าเทียม ครอบคลุมและส่งเสริมโอกาสการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตสำหรับทุกคน”) ภายในปี พ.ศ. 2573
ผู้สนใจสามารถค้นหาข้อมูลเพิ่ มเติมเกี่ยวกับงานสัมมนาผ่านเว็ บไซต์ด้านการศึกษาระดับโลก (Global Online Education) โดยสามารถคลิก ที่นี่ เพื่อรับชมวีดีโอ
รับชมการกล่าวสุนทรพจน์ ของนายเคน หู พร้อมอ่านข้อความบล็อกโพสต์ด้ านการศึกษา กรุณาไปที่ https://blog.huawei.com/2020/ 06/23/driving-education- equality-with-technology/