หัวเว่ยเปิดตัวเกณฑ์ การวางแผนออกแบบเครือข่ายที่อิ งจากประสบการณ์การให้บริการ 5G เป็นครั้งแรกของอุตสาหกรรม พร้อมกับโซลูชันด้านการสร้ างรายได้Monetization Solution สำหรับเครือข่าย 5G แบบStandalone (SA) และโซลูชันเครือข่ายฝาแฝดบนบนวิ ศวกรรมดิจิทัล 5G (Site Digital Twins Based 5G Digital Engineering Solution) เพื่อตอบสนองความต้องการใหม่ๆ ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคม โดยหัวเว่ยได้เน้นย้ำว่า “เกณฑ์การออกแบบเครือข่าย” (Network Planning Criteria) สำคัญอย่างยิ่งต่อผู้ให้บริการ เพราะเป็นสิ่งที่จะรับรองว่าผู้ ใช้งานจะได้รับประสบการณ์ที่ดี จากการให้บริการสัญญาณ 5G ทั้งนี้ เพื่อเอาชนะอุปสรรคและความท้ าทายของโมเดลธุรกิจ5G ซี่งนอกจากจะต้องมีระบบบิลลิ่ งที่รวมทุกอย่างเข้าด้วยกัน เพื่อรองรับผู้บริโภค ยังต้องเป็นระบบที่คล่องตั วและเปิดกว้าง เพื่อให้พาร์ทเนอร์สามารถขยายธุ รกิจได้อย่างรวดเร็ว
เกณฑ์การวางแผนออกแบบระบบเครื อข่ายที่อิงจากประสบการณ์บริการ 5G เป็นครั้งแรก
หัวเว่ยเปิดตัวเกณฑ์ การวางแผนออกแบบเครือข่ายที่อิ งจากประสบการณ์การให้บริการ 5G เป็นครั้งแรก ที่กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร ซึ่งเกณฑ์ดังกล่าวจะช่วยให้ บรรดาผู้ให้บริการเครือข่ ายสามารถพบกับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นจากการเปิดบริ การใหม่ในยุค 5Gซึ่งจะมีความต้องการที่แตกต่ างกันตามประสบการณ์การใช้งาน นอกจากนี้ เกณฑ์ดังกล่าวยังช่วยให้ผู้ให้ บริการสามารถเปลี่ ยนจากการออกแบบเครือข่ายที่อิ งจากบริการโทรคมนาคมแบบเดิม มาสู่การออกแบบเครือข่ายโดยอิ งจากประสบการณ์การให้บริ การแบบดิจิทัลแทน เช่นนี้แล้ว การออกแบบเครือข่ายของผู้ให้บริ การก็จะมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และการลงทุนก็จะแม่นยำยิ่งขึ้น พร้อมมอบประสบการณ์การใช้งานที่ มีคุณภาพให้กับผู้ใช้ 5G
เป้าหมายสูงสุ ดของการวางแผนออกแบบเครือข่ายคื อเพื่อรับรองว่าผู้ใช้งานจะได้ รับประสบการณ์ที่ดี และจะต้องได้บริการที่ ตรงตามเกณฑ์มาตรฐาน เมื่อก่อนในยุค4G เกณฑ์การวางแผนออกแบบเครือข่ ายมีไว้เพียงเพื่อให้ได้ มาตรฐานด้านปริ มาณงานและความครอบคลุม แต่ในยุค 5G นั้นต้องการมาตรฐานที่สูงกว่า ทั้งในแง่ของอัตราการส่งผ่านข้ อมูล (rate) และค่าความหน่วง(latency) เนื่องจากมีบริการบรอดแบนด์เคลื่ อนที่(enhanced mobile broadband หรือ eMBB) ซึ่งอยู่ในรูปแบบของคลาวด์เวอร์ ชวลเรียลลิตี้ (CloudVR) และบริการในอุตสาหกรรมเดียวกั นแบบแนวดิ่ง เช่น โรงงานอัจฉริยะ (smart factory) บริการสุขภาพอัจฉริยะ(smart healthcare) และระบบพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะ(smart electricity)
ด้วยเหตุนี้ หัวเว่ยจึงเสนอโมเดลใหม่ที่ชื่ อว่าSmartCare® E-Planning และสร้างเกณฑ์การออกแบบเครือข่ ายเป็นครั้งแรกของอุตสาหกรรมที่ อิงกับประสบการณ์การให้บริการ 5G จากโมเดลดังกล่าว โมเดล SmartCare® E-Planning ของหัวเว่ยประกอบไปด้วยแผนภาพ “3 ระดับ” และ “2 ขั้นตอน” โดยเริ่มจากประสบการณ์ผู้ใช้งาน ข้อกำหนดด้านคุณภาพการให้บริการ ไปจนถึงเกณฑ์มาตรฐานของศั กยภาพที่เครือข่ายควรทำได้ ส่วนแผนภาพ 2 ขั้นตอนนั้น แบ่งประสบการณ์ผู้ใช้ออกเป็ นเกณฑ์การออกแบบเครือข่ายที่ สามารถนำไปใช้งานได้จริงสำหรั บผู้ให้บริการเครือข่าย ทั้งนี้ สำหรับการวางกรอบให้กับเกณฑ์ดั งกล่าว หัวเว่ยได้เสนอและปรับใช้ ผลการวิจัยของบริษัทตนทั้งหมด 6 หัวข้อ ได้แก่ ใช้โมเดล TBR สำหรับปริมาณข้อมูลที่สามารถรั บและส่งในช่วงระยะเวลาหนึ่ง (throughput), ใช้โมเดล Burst สำหรับการรักษาสมดุลค่าความหน่ วงและแบนด์วิดท์, ใช้โมเดล MTPสำหรับค่าความหน่วง, ใช้โมเดล PLR สำหรับ packet loss, ใช้Piecewise Fitting Methodology สำหรับความครอบคลุมของสัญญาณ (Coverage) และใช้ Unified Planning กับ Domain Based Design แบบครบวงจร ทั้งนี้ ด้วยโมเดล SmartCare® E-Planning นับว่าหัวเว่ยได้เสนอเกณฑ์ การวางแผนออกแบบเครือข่ายโดยอิ งจากประสบการณ์สำหรับบริการวิดี โอ 5G ทั้งแบบ 2Cและ 2B
ตลอดช่วงเวลาไม่กี่ปีที่ผ่านมา หัวเว่ยได้ลงทุนไปกับการเพิ่มพู นประสบการณ์การให้บริการตลอดมา พร้อมทั้งได้จัดตั้งความร่วมมื อเชิงลึกกับองค์กรมาตรฐานในอุ ตสาหกรรมและพันธมิตรในอุ ตสาหกรรมมากกว่า 10แห่ง รวมถึงพาร์ทเนอร์ระดับโลกอี กมากกว่า 50 แห่ง ด้วยการสนับสนุนจาก Experience lab (eLAB) โมเดลHuawei SmartCare® ซึ่งไม่เพียงเป็นตัวอย่ างการออกแบบระบบเครือข่ายที่แม่ นยำโดยอิงกับประสบการณ์บริการ 5G เท่านั้น แต่ยังเป็นโซลูชันด้านการบริ หารประสบการณ์ของลูกค้า (CEM) 5G โซลูชันแรกของอุตสาหกรรมที่เป็ นรูปเป็นร่าง จัดการได้ง่าย และสามารถอัพเกรดได้ ฟีเจอร์นี้จะช่วยให้ผู้ให้บริ การเครือข่ายสามารถรับรองได้ว่ าจะมอบประสบการณ์การให้บริการ 5G แบบครบวงจร ตั้งแต่การวางแผนออกแบบเครือข่ าย ไปจนถึงการบริหารประสบการณ์ การใช้บริการ (service experience management) ได้อย่างแน่นอน
โซลูชันด้านการสร้างรายได้สำหรั บเครือข่าย 5Gแบบ Standalone (SA) โซลูชันแรกของอุตสาหกรรม
นอกเหนือจากการจัดตั้งเกณฑ์ การออกแบบเพื่อพัฒนาคุ ณภาพของเครือข่ายแล้ว ระบบการ monetizationหรือการสร้างรายได้ก็สำคัญต่อผู้ ให้บริการเครือข่าย5G ในแง่ของการสร้างโมเดลธุรกิจที่ ยั่งยืนเช่นกัน นายร็อกเรด จาง (Rockred Zhang) ประธานหน่วยงานธุรกิจซอฟต์แวร์ ของหัวเว่ย ให้ความเห็นว่า “5G เผชิญกับความท้ าทายหลายประการในแง่ของโมเดลธุ รกิจและอีโคซิสเต็ม การจะประสบความสำเร็จกับการสร้ างรายได้ในทุกระดับจากผู้ใช้ ปลายทางทั้งหมด ทั้งผู้ใช้ประเภทบุคคล ครัวเรือน และองค์กร จำเป็นต้องมีระบบบิลลิ่งที่เป็ นเอกภาพ นอกจากนี้ ระบบที่คล่องตัวและเปิดกว้างก็ สำคัญอย่างยิ่งต่อการที่จะทำให้ พาร์ทเนอร์สามารถขยายธุรกิ จของตนเองได้รวดเร็วมากพอ ดังนั้น หัวเว่ยจึงเปิดตัวระบบ CBS R20 เพื่อเร่งให้การสร้างรายได้เป็ นไปอย่างรวดเร็วขึ้น”
เพื่อตอบสนองความต้องการของอุ ตสาหกรรม หัวเว่ยได้เปิดตัว Convergent Billing System (CBS) R20โซลูชันด้านการสร้างรายได้สำหรั บเครือข่าย 5G แบบStandalone (SA) โซลูชันแรกของอุตสาหกรรม ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร โซลูชันนี้ได้รับการติดตั้ งบนเครือข่าย 5G แบบ SA ของบริษัท stc Kuwait แล้ว ในขณะที่ฟีเจอร์ “Dedicated Access” จะส่งมอบให้กับองค์กรต่างๆ พร้อมการรับประกันข้อตกลงระดั บการให้บริการ (SLAs) นอกจากการลงทุนในด้านการสร้ างรายได้มาเป็นเวลานาน หัวเว่ยยังได้พัฒนาระบบ CBS R20เพื่อการเป็นผู้นำอุ ตสาหกรรมในด้านการสร้างรายได้ การสร้างมาตรฐาน และสถาปัตยกรรมของระบบ ด้วยการร่วมมืออย่างกว้างขวางกั บพาร์ทเนอร์ด้านการสำรวจโมเดลธุ รกิจบริการ 5G หัวเว่ยได้พัฒนาระบบCBS R20 ขึ้นเพื่อรองรับส่วนผสมทางธุรกิ จจำนวนมหาศาลที่มีตัวแปรด้ านการบิลลิ่งมากกว่า 1,000รายการ จากหลากหลายมิติที่แตกต่างกัน รวมทั้งส่วนผสมของรูปแบบบริการ 5G มากกว่า 100 รายการ
ปัจจุบันระบบ CBS ของหัวเว่ยให้บริการแก่สมาชิ กกว่า2,200 ล้านรายจากพันธมิตรผู้ให้บริ การที่ผ่านการรับรองคุณสมบัติ (CSPs) มากกว่า 200 รายทั่วโลก โดยได้รับการสนับสนุนจากศูนย์ บริการระดับโลก 8แห่ง ศูนย์เดลิเวอรี 4 แห่ง และศูนย์วิจัยและพัฒนา(R&D) 5 แห่ง หัวเว่ยเปิดตัวโครงการมากกว่า 20โครงการในปี 2019 โดยมีสมาชิกมากกว่า 360 ล้านรายที่พร้อมแล้วสำหรับบริ การ 5G ใหม่ล่าสุด
โซลูชันเครือข่ายฝาแฝดตั วแรกบนวิศวกรรมดิจิทัล5G
นอกจากนี้ หัวเว่ยยังได้เปิดตัวโซลูชันด้ านวิศวกรรมดิจิทัล 5G ซึ่งเป็นโซลูชันแรกของอุ ตสาหกรรมที่ทำงานบนแนวคิ ดของเครือข่ายดิจิทัลฝาแฝดตั วแรกที่นำเสนอโดยหัวเว่ย โดยโซลูชันจะสร้างแบบจำลองดิจิ ทัลของไซต์ของจริง ทำให้สามารถจัดการไซต์ตัวจริ งได้ผ่านระบบดิจิทัล ซึ่งถือเป็นการปฏิวัติ โมเดลการส่งมอบไซต์ในปัจจุบัน และจะพร้อมช่วยเร่งให้เกิดการติ ดตั้ง 5G ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
ไซต์เครือข่ายดิจิทั ลแบบแฝดจะทำให้สามารถจั ดการโครงสร้างพื้นฐานของไซต์ผ่ านระบบดิจิทัลร่วมกันได้ตลอดทั้ งระบบ เริ่มตั้งแต่การวางแผน การออกแบบ การติดตั้ง และการดูแลรักษา โดยไซต์เครือข่ายดิจิทั ลแบบแฝดทำให้หัวเว่ยได้ใช้ ประโยชน์จากการเทคโนโลยีภาพถ่ ายขั้นสูง (Photogrammetry), เทคโนโลยี AIและนำเสนอโมเดลการสร้ างแบบจำลองข้อมูลโทรคมนาคม (T-BIM) และรายละเอียดสเป็คของเครือข่ ายดิจิทัลให้กับอุ ตสาหกรรมโทรคมนาคม เพื่อปรับเปลี่ยนโมเดลการส่ งมอบผลิตภัณฑ์หรือบริการในรู ปแบบดิจิทัลในอุ ตสาหกรรมโทรคมนาคม ทำให้การติดตั้งรวดเร็วและแม่ นยำขึ้นด้วยการใช้มุมมองแบบ 3 มิติและ AR ผ่านแอปพลิเคชันบนมือถือ เพื่อแนะแนววิธีการปฏิบัติงานที่ ไซต์ในพื้นที่ นอกจากนี้ ยังช่วยลดการส่งทรัพยากรบุ คคลไปที่ไซต์หลายๆ รอบเพื่อแก้ไขปัญหา ด้วยการเปลี่ยนจากระบบการแก้ ไขแบบหน้างาน ไปสู่การใช้เทคโนโลยี จดจำภาพโดยใช้ AI ทั้งนี้ โซลูชันวิศวกรรมดิจิทัล 5G สำหรับการใช้งานระหว่างองค์กร(E2E) นี้จะช่วยลดเวลาในการสร้าง และปรับปรุงคุณภาพของการสร้ างเครือข่าย 5G ได้เป็นอย่างมาก
หัวเว่ยได้ทำงานร่วมกับผู้ให้ บริการเครือข่ายหลายรายจากยุ โรปตะวันตก ตะวันออกกลาง แอฟริกาใต้ และประเทศจีนในการพัฒนาโซลูชั นวิศกรรมดิจิทัล 5G และในอนาคต หัวเว่ยจะยังคงเดินหน้าลงทุ นในด้านการปรับใช้เทคโนโลยีดิจิ ทัล 5G และเทคโนโลยี AI เพื่อให้สามารถนำไปสู่การส่ งมอบแบบดิจิทัลอย่างเต็มรู ปแบบรวมทั้งเป็นผู้นำด้านการพั ฒนาภาคอุตสาหกรรมให้จงได้